กำลังโหลดข้อมูล กรุณารอสักครู่ ...
  กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา     ตำบลลอมคอม อำเภอพล จ.ขอนแก่น สพป.ขอนแก่น เขต 3


test

 

More...
test

กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ประชุมจัดทำคู่มือ เว็บไซต์ kkn3.go.th

 

More...
กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ประชุมจัดทำคู่มือ เว็บไซต์ kkn3.go.th

รอบรู้วิชาการ สืบสานนโยบาย หลากหลายนวัตกรรม

 

กลุ่มงานนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล งดรับ งดให้ของรางวัล กำนัล แก่ข้าราชการในทุกโอกาส ต้านทุจริต โปร่งใส คุณภาพ คุณธรรม สร้างการมีส่วนร่วมและประสานการทำงานร่วมกันอย่างยั่งยืน ทุกภาคส่วน

More...
รอบรู้วิชาการ สืบสานนโยบาย หลากหลายนวัตกรรม

เราสร้างสำนึกยุวจิตอาสา

 

เยาวชนคนรุ่นใหม่มีจิตอาสา เสียสละอุทิศเวลาแก่ส่วนรวม ร่วมพัฒนา ห้องเรียน อาคาร สถานที่ บริเวณสาธารณะ ให้สะอาด ปลอดภัย ไม่มีเศษพลาสติก ของอันตราย คัดแยก จัดเก็บอย่างถูกวิธี

More...
เราสร้างสำนึกยุวจิตอาสา
ข้อมูลพื้นฐาน
Access มุมสมาชิก
 
   Access to management
User
Password
 
ข้อมูลสารสนเทศ
   ข้อมูลนักเรียน
   ข้อมูลเขตบริการ
   ข้อมูลครูและบุคลากร
 
เอกสาร คู่มือ
    ข้อมูลO-NET
    ข้อมูล NT
    ข้อมูล RT
 
ลิ้งค์แนะนำ(เปิดหน้าต่างใหม่)
    โรงเรียนประชารัฐ
    โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช
    โรงเรียนดีประจำตำบล
    โรงเรียนสุจริต
Breaking News
  Latest News

ขอต้อนรับสู่กลุ่มงานนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา

 
Social Network

 

ไทยรัฐ | เดลินิวส์ | มติชน| คม ชัด ลึก| ข่าวสด เนชั่นแนล Geographic | ห้องสมุดรอบโลก | สวทช. ธรรมะไทย | พระไตรปิฎกออนไลน์ | ลานธรรมเสวนา
ธรรมะจักร | กัลยาณมิตร | พระธรรมกาย วิชาการ.คอม | ทรูปลูกปัญญา | สสส.| รักบ้านเกิด.

Statistic & Counter

ขณะนี้ออนไลน์: 1 คน

สถิติวันนี้:      22 คน

สถิติเดือนนี้:   149 คน

สถิติปีนี้:        15356 คน

สถิติทั้งหมด: 20584 คน

 

แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙


เมื่อ [2022-06-19 12:54:00]

แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙
นำเสนอแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ มีใจความสำคัญคือ ประเทศไทยได้ให้ความสำคัญด้านการศึกษาในฐานะกลไกหลักในการพัฒนาประเทศมาโดยตลอดและเนื่องจากแผนการศึกษาแห่งชาติฉบับเดิมได้สิ้นสุดลง กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา จึงได้จัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ฉบับนี้ขึ้น เพื่อวางกรอบเป้าหมายและทิศทางการจัดการศึกษาของประเทศ โดยมุ่งจัดการศึกษาให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงโอกาสและความเสมอภาคในการศึกษาที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ พัฒนากำลังคนให้มีสมรรถนะในการทำงานที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงานและการพัฒนาประเทศ

คำนำ
บทสรุปผู้บริหาร
บทที่ ๑  สภาวการณ์และบริบทแวดล้อมที่มีผลต่อการพัฒนาการศึกษาของประเทศ

          ๑.๑ ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี และการสื่อสารแบบก้าวกระโดดที่ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ภูมิภาค และของโลก
          ๑.๒ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร
          ๑.๓ ทักษะของประชากรในศตวรรษที่ ๒๑ : ทั่วโลกตั้งเป้าหมายสร้างให้ได้ และไปให้ถึงความต้องการกำลังคนยุค ๔.๐
          ๑.๔ สภาวการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลก 
บทที่ ๒  ผลการพัฒนาการศึกษาไทย ปี ๒๕๕๒ - ๒๕๕๘
          
๒.๑ บริบทของการจัดการศึกษา    
          ๒.๒ โอกาสทางการศึกษา
          ๒.๓ คุณภาพการศึกษา
          ๒.๔ ประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน
          ๒.๕ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา
          ๒.๖ ประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณ
          ๒.๗ การพัฒนาการศึกษากับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
          ๒.๘ สรุป
บทที่ ๓  ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษา
          
๓.๑ ปัญหาและความท้าทายที่เกิดจากระบบการศึกษา 
          ๓.๒ ปัญหาและความท้าทายจากสภาวการณ์ของโลกที่ประเทศต้องเผชิญ
บทที่ ๔  วิสัยทัศน์และเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ
          
๔.๑ แนวคิดการจัดการศึกษา (Conceptual Design)
          ๔.๒ วิสัยทัศน์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ (Vision) 
          ๔.๓ พันธกิจ
          ๔.๔ วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ (Objectives) 
          ๔.๕  เป้าหมายด้านผู้เรียน (Learner Aspirations)
          ๔.๖  เป้าหมายของการจัดการศึกษา (Aspirations)
          ๔.๗  ตัวชี้วัดตามเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ
          ๔.๘  ระยะเวลาของการดำเนินงานตามแผนการศึกษาแห่งชาติ
          ๔.๙ บทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
บทที่ ๕  ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด และแนวทางการพัฒนา
          
ยุทธศาสตร์ที่ ๑  การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
          ยุทธศาสตร์ที่ ๒  การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัยและนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
          ยุทธศาสตร์ที่ ๓  การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
          ยุทธศาสตร์ที่ ๔  การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
          ยุทธศาสตร์ที่ ๕  การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
          ยุทธศาสตร์ที่ ๖  การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา 
บทที่ ๖  การขับเคลื่อนแผนการศึกษาแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
          
๖.๑  หลักการและแนวทางในการขับเคลื่อนแผนการศึกษาแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
          ๖.๒  การดำเนินการขับเคลื่อนแผนการศึกษาแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
          ๖.๓  การติดตามประเมินผลแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙
          ๖.๔  ปัจจัยและเงื่อนไขความสำเร็จ (Key Success Factors)
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
คณะผู้ดำเนินการ

2).
http://www.onec.go.th/th.php/page/category/CAT0000018 ดูขนาดภาพจริง
ที่มา:  คลิกที่นี่http://www.onec.go.th/th.php/page/category/CAT0000018